On 17-18 March 2018, Thailand organised a workshop to help promote an integrated approach in combatting IUU fishing. The participants were 101 representatives from Thailand’s Criminal Court of Justice, the Office of the Attorney General, the Royal Thai Police, the Royal Thai Navy and the Department of Fisheries. The workshop aimed to brainstorm and set guidelines for a swifter and more standardised judicial process on IUU fishing cases.
The aforementioned workshop was the first of its kind in an effort to create a driving force behind the whole justice system concerning illegal fishing cases by stipulating a clear time frame and procedures for each law enforcement agency, namely, the Royal Thai Police, the Public Prosecutors, and the Judiciary. If the police officer finds an alleged illegal fishing offence, he will need to complete his investigation report and hand it over to the public prosecutor within 2 months. The public prosecutor will examine the case and present it to the criminal court within 1 month. The criminal court, which now has two dedicated special chambers to handle illegal fishing cases, will deliberate the case and deliver a verdict within 6 months from the date of the case being accepted by the court. The workshop also discussed the appropriate judicial approaches for criminal and administrative cases, the impound and auction of seized aquatic goods, and explored the possibility of drafting an Illegal Fishing Criminal Procedure Act in the future.
In addition, a representative from the National Oceanic and Atmospheric Administration of the United States of America was invited to give a lecture and share experiences with the participants with regard to evidence collection and prosecution of illegal fishing cases. This was a demonstration of cooperation leading to learning from another country’s knowledge and best practices in the law enforcement of fisheries cases for the benefit of Thailand’s own development to be in line with international standards.
Thailand will organise such workshop on law enforcement again in May 2018 to assess performance, and will invite a team of experts from the European Union to share their experiences in the prosecution of fisheries cases with Thai competent authorities. This workshop is scheduled to be organised every year to promote the continuity of enhancing effectiveness of the law enforcement of fisheries cases in order to promote a robust illegal fishing deterrence.
ไทยเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการยุติธรรมด้านคดีประมงผิดกฎหมายทั้งระบบ
เมื่อวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๖๑ ตัวแทนภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ได้ร่วมแถลงข่าวเปิดตัวการจัดตั้ง “กลุ่มสหภาพลูกเรือประมงไทยและข้ามชาติ” และสายด่วน “เสียงของแรงงาน” โดยมีผู้แทนภาครัฐ สมาคมการประมงแห่งประเทศไทย มูลนิธิเครือข่ายส่งเสริมคุณภาพชีวิตแรงงาน เครือข่ายทางสังคมแรงงานข้ามชาติชาวเมียนมาในประเทศไทย และศูนย์วิจัยการย้ายถิ่นแห่งเอเชีย สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้าร่วม
การจัดตั้งกลุ่มสหภาพลูกเรือประมงถือเป็นการยกระดับการช่วยเหลือ เยียวยา และคุ้มครองลูกเรือประมงตามกฎหมาย โดยมีตัวแทนของลูกเรือประมงทั้งที่เป็นแรงงานไทยและข้ามชาติเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการคุ้มครองสิทธิของตนเป็นครั้งแรก และยังเป็นการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มลูกเรือประมงให้สามารถพึ่งพาตนเองและเรียกร้องต่อสาธารณะให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีต่อสภาพความเป็นอยู่และสวัสดิภาพของลูกเรือประมงได้
การจัดตั้งกลุ่มสหภาพลูกเรือประมงไทยและข้ามชาติยังถือเป็นก้าวแรกที่จะนำไปสู่การจัดตั้ง “สหภาพแรงงานลูกเรือประมง” อย่างเต็มรูปแบบในอนาคต รวมถึงการมีบทบาทสำคัญในการรณรงค์ให้รัฐมีนโยบายการบริหารจัดการแรงงานที่ดี และการปกป้องคุ้มครองลูกเรือประมงทั้งในและนอกน่านน้ำไทยด้วย ซึ่งตัวแทนของแรงงานประมงได้แสดงความยินดีที่ภาครัฐได้เข้ามาสนับสนุนการจัดตั้งกลุ่มสหภาพดังกล่าว เพราะแรงงานคือผู้ที่รู้ปัญหาและสามารถเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาได้ดีที่สุด
การจัดตั้งกลุ่มลูกเรือประมงถือเป็นผลงานที่เป็นรูปธรรมภายใต้การผลักดันของคณะทำงานส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์ในกิจการประมงทะเลไทย ซึ่งทางการไทยได้แต่งตั้งขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อขับเคลื่อนระบบแรงงานสัมพันธ์ในกิจการประมงทะเลและส่งเสริมการรวมตัวและการเจรจาต่อรองของลูกจ้าง โดยมี NGOs ของไทยและต่างประเทศร่วมเป็นคณะทำงานเพื่อให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์
นอกจากนี้ ยังได้มีการเปิดตัวสายด่วน “เสียงของแรงงาน” ซึ่งได้เริ่มให้บริการแล้วตั้งแต่ ๑ ธันวาคม ๒๕๖๐ โดยให้บริการใน ๔ ภาษา ได้แก่ ไทย เมียนมา กัมพูชา และลาว สายด่วนดังกล่าวเป็นความร่วมมือระหว่างมูลนิธิเครือข่ายส่งเสริมคุณภาพชีวิตแรงงานกับภาคเอกชน เพื่อให้เป็นหนึ่งในช่องทางสำหรับแรงงานทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติได้ร้องเรียนในกรณีที่มีการละเมิดสิทธิ โดยมูลนิธิฯ จะเป็นสื่อกลางในการรับฟังความเห็น ข้อเสนอแนะ และข้อร้องเรียนจากแรงงาน และนำเรื่องเข้าสู่กลไกแก้ไขปัญหาของภาครัฐและเอกชนต่อไป